ข้อมูลนักวิจัย : อิสริยพร หลวงหาญ
รายละเอียดงานวิจัย
ชื่องานวิจัย : ตัวแบบพยากรณ์ปริมาณการจำหน่าย ผลิตภัณฑ์นมยูเอชทีที่เหมาะสม ด้วยวิธีการปรับเรียบแบบเอ็กซ์ โพแนนเชียล
ปีที่จัดทำ : 2562
ผู้จัดทำ : อิสริยพร หลวงหาญ (
เจ้าของงานวิจัย
)
ประเภทงานวิจัย :
การประชุมวิชาการระดับชาติ
สถานะ :
งานวิจัยได้รับการตีพิมพ์
แหล่งทุน :
แหล่งตีพิมพ์เผยแพร่ : การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปีการศึกษา 2562 ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี (2562)
วันที่ตีพิมพ์ : 2562
หน้าที่ : 583-587
ค่าถ่วงน้ำหนัก : 0.2
งบประมาณ : 0.00
บทคัดย่อ :
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาตัวแบบผลิตภัณฑ์นมยูเอชทีที่เหมาะสม สำหรับใช้เป็นข้อมูลอนุกรมเวลาเพื่อการวางแผนและกำหนดนโยบายของโรงงานกรณีศึกษาเกี่ยวกับการตลาด การผลิตและการจัดการสินค้าคงคลัง งานวิจัยนี้เลือกใช้ตัวแบบการพยากรณ์ด้วยวิธีปรับเรียบแบบเอกซ์โพเนนเชียล (Exponential Smoothing Methods) จำนวน 4 วิธี มีข้อมูลอนุกรมเวลาตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2559 ถึง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2561 รวม 36 ค่า แบ่งข้อมูลออกเป็น 2 ชุด คือ ชุดที่ 1 เป็นข้อมูลที่ใช้สร้างตัวแบบการพยากรณ์ จำนวน 36 ค่า ส่วนชุดที่ 2 เป็นข้อมูลที่ใช้เปรียบเทียบประสิทธิภาพของตัวแบบการพยากรณ์ จำนวน 12 ค่า เมื่อพิจารณาใช้เกณฑ์วัดค่าความแม่นยำด้วยเปอร์เซ็นต์ค่าสัมบูรณ์ค่าความคลาดเคลื่อน (Mean Absolute Percentage Error : MAPE) และค่ารากที่สองของความคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ย (Root Mean Squared Error : RMSE) ที่ตำที่สุด ผลการวิจัยพบว่า ตัวแบบการพยากรณ์ปริมาณการจำหน่ายผลิตภัณฑ์นมยูเอชทีที่เหมาะสมที่สุด คือ วิธีปรับเรียบด้วยเส้นโค้งเลขชี้กำลังของวินเทอร์ แบบผลบวก เปอร์เซ็นต์ค่าสัมบูรณ์ของค่าความคลาดเคลื่อน เท่ากับ 8.31% และค่ารากที่สองของค่าคลาดเคลื่อนโดยเฉลี่ย เท่ากับ 27,204 ซึ่งมีค่าตำสุด
คำหลัก ตัวแบบการพยากรณ์ ผลิตภัณฑ์นมยูเอชที วิธีปรับเปลี่ยนแบบเอกซ์โพเนนเซียล
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาตัวแบบผลิตภัณฑ์นมยูเอชทีที่เหมาะสม สำหรับใช้เป็นข้อมูลอนุกรมเวลาเพื่อการวางแผนและกำหนดนโยบายของโรงงานกรณีศึกษาเกี่ยวกับการตลาด การผลิตและการจัดการสินค้าคงคลัง งานวิจัยนี้เลือกใช้ตัวแบบการพยากรณ์ด้วยวิธีปรับเรียบแบบเอกซ์โพเนนเชียล (Exponential Smoothing Methods) จำนวน 4 วิธี มีข้อมูลอนุกรมเวลาตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2559 ถึง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2561 รวม 36 ค่า แบ่งข้อมูลออกเป็น 2 ชุด คือ ชุดที่ 1 เป็นข้อมูลที่ใช้สร้างตัวแบบการพยากรณ์ จำนวน 36 ค่า ส่วนชุดที่ 2 เป็นข้อมูลที่ใช้เปรียบเทียบประสิทธิภาพของตัวแบบการพยากรณ์ จำนวน 12 ค่า เมื่อพิจารณาใช้เกณฑ์วัดค่าความแม่นยำด้วยเปอร์เซ็นต์ค่าสัมบูรณ์ค่าความคลาดเคลื่อน (Mean Absolute Percentage Error : MAPE) และค่ารากที่สองของความคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ย (Root Mean Squared Error : RMSE) ที่ตำที่สุด ผลการวิจัยพบว่า ตัวแบบการพยากรณ์ปริมาณการจำหน่ายผลิตภัณฑ์นมยูเอชทีที่เหมาะสมที่สุด คือ วิธีปรับเรียบด้วยเส้นโค้งเลขชี้กำลังของวินเทอร์ แบบผลบวก เปอร์เซ็นต์ค่าสัมบูรณ์ของค่าความคลาดเคลื่อน เท่ากับ 8.31% และค่ารากที่สองของค่าคลาดเคลื่อนโดยเฉลี่ย เท่ากับ 27,204 ซึ่งมีค่าตำสุด
คำหลัก ตัวแบบการพยากรณ์ ผลิตภัณฑ์นมยูเอชที วิธีปรับเปลี่ยนแบบเอกซ์โพเนนเซียล
หมายเหตุ :
เอกสารประกอบ
# | ชื่อเอกสาร |
---|---|
1 | ตัวแบบพยากรณ์ปริมาณการจำหน่าย ผลิตภัณฑ์นมยูเอชทีที่เหมาะสม ด้วยวิธีการปรับเรียบแบบเอ็กซ์ โพแนนเชียล |