ข้อมูลนักวิจัย : เอกพิสิษฐ์ บรรจงเกลี้ยง
รายละเอียดงานวิจัย
ชื่องานวิจัย : การเปรียบเทียบการวางแผนงานแบบทำซ้ำกับแผนงานแบบดั้งเดิมในด้าน ระยะเวลาทำงานและการใช้ทรัพยากรในการก่อสร้างถนน
ปีที่จัดทำ : 2562
ผู้จัดทำ : เอกพิสิษฐ์ บรรจงเกลี้ยง (
ผู้ร่วมวิจัย
)
ประเภทงานวิจัย :
การประชุมวิชาการระดับชาติ
สถานะ :
งานวิจัยได้รับการตีพิมพ์
แหล่งทุน :
แหล่งตีพิมพ์เผยแพร่ : การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธา แห่งชาติครั้งที่ 24 ปี (2562)
วันที่ตีพิมพ์ : 10-12 กรกฎาคม 2562
หน้าที่ : 1-10
ค่าถ่วงน้ำหนัก : 0.2
งบประมาณ : 0.00
บทคัดย่อ :
ในปัจจุบันการก่อสร้างถนนมีการใช้การวางแผนงานก่อสรา้งโดย ใช้แผนภูมิแกนต์ควบคู่ไปกับการกำหนดสายงานวกิฤตซึ่งเป็นลักษณะ การวางแผนงานที่มีการระบุงานที่สำคัญและไม่สามารถล่าช้าได ้แต่การ วางแผนทรัพยากรที่ถูกนำมาใช ้จะถูกวางแผนแยกออกจากแผนงาน จึงไม่สามารถจัดการกับทรัพยากรที่มีให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดได ้จึงได้นำแนวทางการวางแผนงานก่อสร้างแบบทำซ้ำที่เป็นการวางแผนงาน โดยกำหนดจากการใช้ทรัพยากรที่มีอย่ ูซึ่งทำให้สามารถจัดการกับทรัพยากรที่มีให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดได้ โดยงานวิจัยนี้ได้นำการวางแผนงานแบบทำซ้ำมาวางแผนกับโครงการก่อสร้างถนนที่มีขนาด ระยะทางในการก่อสร้างที่แตกต่างกันทั้งหมด 6 โครงการ ในลักษณะ ของการเปรียบเทียบกับการวางแผนงานแบบเดิมที่เป็นการวางแผน งานก่อสร้างแบบกำหนดสายงานวิกฤต เพื่อหาแนวทางการวางแผนงาน และการประยุกต์ใช้แผนงานให้สอดคล้องกับสภาพปัจจุบันให้ได้ ประโยชน์จาก ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างสูงสุดต่อการทำงาน ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้จะนำมาเป็นแนวทางในการเปรียบเทียบว่าการวางแผนงานแบบใดมีความสะดวกในการใช้งานมากกว่ากัน
ในปัจจุบันการก่อสร้างถนนมีการใช้การวางแผนงานก่อสรา้งโดย ใช้แผนภูมิแกนต์ควบคู่ไปกับการกำหนดสายงานวกิฤตซึ่งเป็นลักษณะ การวางแผนงานที่มีการระบุงานที่สำคัญและไม่สามารถล่าช้าได ้แต่การ วางแผนทรัพยากรที่ถูกนำมาใช ้จะถูกวางแผนแยกออกจากแผนงาน จึงไม่สามารถจัดการกับทรัพยากรที่มีให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดได ้จึงได้นำแนวทางการวางแผนงานก่อสร้างแบบทำซ้ำที่เป็นการวางแผนงาน โดยกำหนดจากการใช้ทรัพยากรที่มีอย่ ูซึ่งทำให้สามารถจัดการกับทรัพยากรที่มีให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดได้ โดยงานวิจัยนี้ได้นำการวางแผนงานแบบทำซ้ำมาวางแผนกับโครงการก่อสร้างถนนที่มีขนาด ระยะทางในการก่อสร้างที่แตกต่างกันทั้งหมด 6 โครงการ ในลักษณะ ของการเปรียบเทียบกับการวางแผนงานแบบเดิมที่เป็นการวางแผน งานก่อสร้างแบบกำหนดสายงานวิกฤต เพื่อหาแนวทางการวางแผนงาน และการประยุกต์ใช้แผนงานให้สอดคล้องกับสภาพปัจจุบันให้ได้ ประโยชน์จาก ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างสูงสุดต่อการทำงาน ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้จะนำมาเป็นแนวทางในการเปรียบเทียบว่าการวางแผนงานแบบใดมีความสะดวกในการใช้งานมากกว่ากัน
หมายเหตุ :
เอกสารประกอบ
# | ชื่อเอกสาร |
---|---|
1 | การเปรียบเทียบการวางแผนงานแบบทำซ้ำกับแผนงานแบบดั้งเดิมในด้าน ระยะเวลาทำงานและการใช้ทรัพยากรในการก่อสร้างถนน |