ข้อมูลนักวิจัย : อรุณเดช บุญสูง

รายละเอียดงานวิจัย
ชื่องานวิจัย : การศึกษาศักยภาพของเถ้าเปลือกเม็ดมะม่วงหิมพานต์ในการเป็นวัสดุปอซโซลาน
ปีที่จัดทำ : 2562
ผู้จัดทำ : อรุณเดช บุญสูง ( เจ้าของงานวิจัย )
ประเภทงานวิจัย : การประชุมวิชาการระดับชาติ
สถานะ : งานวิจัยได้รับการตีพิมพ์
แหล่งทุน :
แหล่งตีพิมพ์เผยแพร่ : การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 11 มหาวิทยาลัยนครปฐม “วิจัยสร้างนวัตกรรม เพื่อพัฒนาท้องถิ่นและสังคมไทย สู่ Disruptive society” ปี (2562)
วันที่ตีพิมพ์ : 11-12 ก.ค. 62
หน้าที่ : 1890-1898
ค่าถ่วงน้ำหนัก : 0.2
งบประมาณ : 0.00
บทคัดย่อ :
บทความฉบับนี้เป็นการศึกษาการนำเถ้าเปลือกเม็ดมะม่วงหิมพานต์ (Cashew Nut ASh, CNA) ซึ่งเป็นกากของเหลือจากอุตสหรมแปรูปผลผลิตทางการเกษตรผสมทดแทนซีเมนต์ (Ordinary Portland Cement, OPC) บางส่วนเพื่อใช้เป็นสารเชื่อมปะสนร้อยละ 0, 10, 20, และ 30 โดยน้ำหน้ โดยมุ่งน้นศึกษาคุณสมบัติทั้งในสภาวะเหลวและแข็งตัวซีเมนต์ด้วยเถ้าเปลือกและค่า ผลการศึกษาพบว่า ปริมาณน้ำที่ทำเหมาะสมของเพสต์มีค่าเพิ่มมากขึ้นตามปริมาณการแทนที่การไหลแผ่ของมอร์ต้าพบว่าปริมาณน้ำ ที่ใช้มีค่าเพิ่มมากขึ้นตามปริมาณการแทนที่ซีเมนต์ด้วยถ้าเปลือก ค่ากำลังรับแรงอัด มีค่าแปรกนกับปริมาณกรแทนที่ซีมนต์ด้วยถ้าเปลือกซึ่งดัชนีค่ากำลังรับแรงอัดประลัยของก้อนตัวอย่างเมื่อเปรียบเทียบ กับมอร์ต้าร์ควบคุมจะมีค่าอยู่ในช่วงร้อยละ 30 - 20 ที่อายุการบ่ม วัน 28 อนุภาคของเถ้าเปลือกจึงทำหน้าที่เป็นวัสดุเติมแทรก (Filler) เข้าไปในช่องว่างและรูพรุนขนาดต่าง ๆ โดยจะช่วยให้วัสดุมีความหนาแน่นเพิ่มขึ้น โดยการวิบัติของตัวอย่างมอร์ต้า มีลักษณะเป็นฝงฝุ่นนและมีระดับที่สูงขึ้นมื่อเพิ่มปริมาณถ้าเปลือกเม็ดมะม่วงหิมพานต์ในส่วนผสม
คำสำคัญะ วัสดุปอซโซลาน มอร์ต้า เม็ดมะม่วงหิมพานต์
หมายเหตุ :

เอกสารประกอบ